ความเป็นมาของชา กาแฟ | คุณพระช่วย
HTML-код
- Опубликовано: 8 апр 2025
- พบกับรายการ คุณพระช่วย
ทุกวันอาทิตย์ เวลา 9:00 ถึง 10:00 น.
ได้ทางช่อง เวิร์คพอยท์ กดหมายเลข 23
และติดตามข้อมูลเพิ่มเติมของรายการได้ที่
เว็บไซต์: www.workpointt...
เฟสบุ๊ค: / workpoint
9:52 ชอบคำว่าไม่นานของอาจารย์แกมากครับ
ชอบฟัง อ.วิโรจน์ มากๆ ได้ความรู้สุดๆๆ
ใส่นม =ใส่นมข้นหวาน
ยกล้อ = ใส่นมจืด(ยี่ห้อดั้งเดิม โลโก้จักรยาน)เวลาเทก็เหมือนจักรยาน ยกล้อ
ตอนหลังกลายเป็นนมข้นตราหมี กับนมจืดคาร์เนชั่น แล้วถ้าใครเกิดทันเห็นกระป๋องนมผูกเชือกก็ถือว่าอาวุโสมากแล้ว 5555
Vichaya Marczewski ผมทันนะครับ อายุ 46 ครับ5555
ในการค้นพบกาแฟครั้งแรกนั้น มีหลักฐานเป็นเพียงตำนานเรื่องเล่าอยู่มากมาย เช่น ตำนานแพะเต้น ซึ่งเป็นเรื่องของคนเลี้ยงแพะชาวเอธิโอเปียชื่อคาลดี ในศตวรรษที่ ๙ ที่ค้นพบกาแฟจากการได้กินผลกาแฟหลังจากที่ได้เห็นแพะรู้สึกคึกคะนองขึ้นจากการได้กินผลดังกล่าว หรือจะเป็นเรื่องของบุรุษชื่อโอมาร์ที่ถูกเนรเทศออกจากเมืองโมชา ได้ค้นพบและกินกาแฟเป็นอาหารจนสามารถรอดชีวิตกลับมายังเมืองได้๒เป็นต้น ซึ่งหลักฐานตำนานส่วนใหญ่ยืนยันถึงถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในเอธิโอเปียเป็นหลัก แม้จะมีการยืนยันเช่นนั้น แต่ในเวลานั้นต้นกาแฟส่วนมากมักไม่ได้รับความสนใจใดๆ นักจนกระทั่งชาวอาหรับในเยเมนได้รับเอากาแฟเหล่านั้นไปเผยแพร่ในดินแดนอาระเบีย
เมื่อก่อนมียี่ห้อนมหนึ่งใช้โลโก้จักรยานไม่ใช่หรอ พอเทใส่แก้วก็เหมือน "ยกล้อ" เรียกกาแฟยกล้อ = กาแฟใส่นม
ใช่ครับ ยกล้อมาจากนมข้นหวานตราจักรยาน อ.มั่วรู้ไม่จริง
@@nuflyfly ไม่ได้ลามกอะไรเลยเนาะ ใส่นม ส่ายนม -_-'
ช่ายๆ ครับ อันนี้แหละ ชัดเจน !
ใช่คะเคยได้ยินมาแบบนี้
อินเดีย ดื่มกาแฟ 10, ดื่มชาบ่าย 2, อาหารเย็น 3 ทุ่ม
ไปใหม่ๆ ช่วงนั่งคุยรออาหารเย็นท้องร้องๆ จ็อกๆ พอถึงดวลาอาหารเย็น อิ่มลมไปซะงั้น
อังกฤษถึงกับมีการวิวาทะระดับชาติ ชาใส่นม หรือนม ใส่ชา?
ผมอายุ27ตอนเด็กๆสงสัยว่าทำไมคนผู้ใหญ่พ่อแม่ตื่นเช้ามาต้องดื้มกาแฟร้อนๆก่อนไปทำงาน แต่ผมกินแต่กาแฟเย็นไม่เคยกินกาแฟร้อน แต่พอโตขึ้นชอบกินเพราะมันได้ความเข้มข้นและรสชาติของชากาแฟแท้ๆ
ขอบคุณมากเลยครับ สำหรับความรู้ใหม่ ๆ ชุดนี้ รายการดี สาระดี มันมีอยู่จริง ^^
The Toylet รีวิวของเล่น ความรู้ผิดๆ
ลุงแกพูดจากประสพการที่ได้ยินมา ไม่ใช่องค์ความรู้ที่ผ่านการศึกษาค้นคว้าที่ถูกต้อง ข้อมูลจึงค่อนข้างคลาดเครื่อน
This is very informative and fun at the same time :)
ชอบการพูดของอาจารย์
ขอขอบคุนครับที่ให้ความรู้
สภากาแฟคุยได้ทุกเรื่องจริงๆ
คนพัทลุงบ้านผม เรียกปาท่องโก๋ ว่า..จาโคย เพิ่งเข้าใจวันนี้ว่าที่จริงแล้ว จาโคย เป็นชื่อเรียกขนมาที่เรียกเพี้ยนมาจาก อิ่วจาก้วย ขนมของจีนนี่เอง
แล้วในตัวเมืองพัทลุง ชาวบ้านเรียกว่า เสกัก ซึ่งเพี้ยนมาจากภาษาจีน สี่กั๊ก แปลว่าสี่แยก แล้วสี่แยกที่เกิดขึ้นครั้งแรกในตลาดพัทลุงก็อยู่ที่ ทวดบ่อโพธิ์ แถวนั้นคนจีนอาศัยอยู่เยอะ
ทางใต้เรียก จาโจ้ย หรือคำประมาณนี้ ถือว่าเรียกถูกหรือใกล้เคียงแล้ว แต่ที่เรียกผิดว่าปาท่องโก๋น่าจะมาจากภาคกลางมากกว่า
ชากาแฟ มันดีแต่สุขภาพ
อุลน่ารักกกก 😍
คิดถึงบรรยากาศสมัยเด็กๆ
ยกล้อ มาจากยี่ห้อนม รูปจักรยาน เวลายกเทจะเหมือนยกล้อ เลยเรียก ยกล้อ
ภาคใต้ ปาท้องโก้ เรียก จาโก้ย
ต้องส้ม😊😊
ผมชอบดื่มชามากครับ แล้วผมอยากจะถ่ายทอด รีวิว รสชาติของชาให้ทุกท่านฟังครับ
กาแฟร้อนใส่นมข้นและนมสดไม่เรียกยกล้อนะคะ,เรียกกาแฟร้อนค่ะ
เม้น2นะครับ
ยกล้อหมายถึงโอเลี้ยงแล้วโรยหน้าด้วยนมข้นจืดหรือที่เรียกว่านมสด(รูปคนขี่จักรยาน)สั่งกวนๆแบบวัยรุ่นสมัยก่อนแทนที่จะบอกว่าโอเลี้ยงใส่นมสด,มันยาวไปเรียกยาก,สั่งยกล้อก็รู้เรื่องแล้วค่ะเพราะยกล้อคือโอเลี้ยงโรยหน้าด้วยนมสดเท่านั้นค่ะ
ของไทยดัดแปลงให้อร่อยที่ซู๊ด
คนใต้ส่วนใหญ่จะเรียก "ปาท่องโก๋" ว่า "จาโก๊ย" หรือ "จาโค้ย"ครับ น่าจะมาจากคำว่า "อิ่วจาก้วย" นะครับ
เกาะพะงันเรียก "คี่กวย" คงเพี้ยนกันมาเรื่อยๆ
สงขลาก็เรียกคะ
ผมสงขลานะครับ555
@iNonGZ ช่ายๆครับ จาโก้ย แล้วคำว่า "สี่กัก" ก็มาจากภาษาจีน แปลว่า สี่แยก คนบ้านเดียวกันครับ
อิ๊ว แปลว่า น้ำมัน,ทอด ก้วย คือสิ่งกลมๆ ขนม ผลไม้ ฯลฯ
ตอนเที่ยงที่โรงเรียน หนูกินชาใสน้ำแข็งค่ะ พอเพื่อนกวนหนูก็ขู่ว่าจะเทชาใส่แล้วพูดว่า “อยากเป็นชาวจีนมั้ย”😂
อยากรู้มานานแหละ
14:48 แมนจูไม่ได้อยู่ตรงนั้นนะครับ นั่นมันหลานโจวไม่เกี่ยวอะไรกับแมนจู แมนจูดั้งเดิมเขาอยู่แถวๆอีสานเหนือปักกิ่งขึ้นไป ใกล้ๆเกาหลี แถวๆเฮอหลงเจียงเลยไปถึงรัสเซีย
เมียผมก็อยู่แถวนั้นแหละ
กระเทยเฒ่าศึกษาแค่ผิวเพิน แต่มาทำตัวเป็นผู้เชี่ยวชาญ ขาดทั้งการศึกษาที่ถูกต้อง ขาดทั้งความรู้พื้นฐานระดับประถม
น่าจะผิดพลาดตรงที่คนทำสื่อครับ อาจารย์วิโรจน์แกแค่เอ่ยนามขึ้นมา
Prin Mccloud
ผมไม่ได้ว่า อ. วิโรจน์ ครับ ผมว่าแมนจูไม่ได้อยู่ตรงนั้น จากในภาพประกอบ ซึ่งก็เป็นที่เข้าใจกันได้อยู่แล้วว่า ต้องเป็นคนทำสื่อ
@@hilatchikkakul8980 คุณ Prin Mccloud เค้าก็ไม่ได้ว่าคุณครับ เค้าว่า คุณ Peerawat Phompan
ไล่คอมเมนต์ดูใหม่นะครับ
อินเดียนอกจะดื่มชาใส่นมแล้ว ยังใส่เครื่องเทศหอมๆ อีกด้วย ครับ
ไม่ใส่นม คือได้สุขภาพ
นมข้นนะใช่ แต่นมจืดคนละเรื่องเลย แต่ที่สำคัญคือโอเลี้ยงกับชาดำเย็นใส่น้ำตาลเยอะมากกกกกก ดื่มเอ็กซ์เพลสโซ่ตบน้ำเปล่าเท่านั้นที่ถือว่าเพื่อสุขภาพจริงๆ ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่ดื่มไม่ลง
บ้านผมเรียกป้านน้ำชา
ผิดครับ สภากาแฟหลักๆมีไว้หนีเมียมานินทากับเพื่อนเรื่องเมียตัวเอง 55555555555555
พoo😮a😂😂😂🎉😮647
อาหรับปลูกกาแฟได้ ใช่มะ มันร้อน ไม่น่าจะได้
ปลูกได้ครับ ต้นกาแฟมีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาตะวันออก ซึ่งไม่ห่างจากแถบตะวันออกกลางมากครับ
ต้นกำเนิดของกาแฟมาจากเอธิโอเปีย ซึ่งเป็นเทือกเขาสูงและมีอากาศเย็นมาก ชาวเผ่าเขาเอามาเคี้ยวหรือต้มดื่มเป็นสารกระตุ้นก่อนออกล่าหรือรบ ตรงที่แล้งจัดมันก็แค่ซาฮาร่า นอกนั้นอุดมสมบูรณ์มากนะในทางแอฟริกาตอนใต้และตะวันตก
ปลาท่องโก้ ภาคใต้บ้านผมเรียกจาโกย
ภาษาจีนป่ะคะ
@@EvalynPhan มาจากคำว่าอิ่วจาก๊วยนั่นแหละคับ
ไม่กินกาเเฟ เเต่กินโกโก้ไม่รู้มีข้อเสียเหมือนกาเเฟไหม ไม่เคยไปนั่งอ่านกลัวว่าจะไม่อยากกินอีก555
กาลครั้งหนึ่ง มีคนจีนเอาใบไม้ใส่น้ำร้อน และคนตะวันออกกลางเอาเมล็ดสีดำๆใส่น้ำร้อน
6:06
ตอนนี้ชาไข่มุกค่ะ 555
ทำไมอาจารย์ดูมีพลัง
เสื้อพิธีกร เหลืองหมดแล้ว
ที่ฮ่องกงมีชามะนาวแต่ชาดำเย็นไม่มี
เอ๊า
คู้ถั่ว จาก้วย ไม่พูดให้ถึงแม่ทัพงั๊ก หรือเหย่เฟย บ้างล่ะ เด่วอินการเมืองใช่ม่ะ propagandaแล้วอ่าจาร์ย
แขกรับเชิญมั่วมาก
น่าจะหาที่มาของ น้ำเต้าหู้ ว่าเกิดจากชนชาติไหน
Pichet Prasertswas ส่วนตัวผมคิดว่าจีนครับ
จีน
ไปดูในยูทูปนะครับมีสารคดีเกี่ยวกับเต้าหู้อยู่
เยอรมันครับ
เขาว่ากันว่าท่านกวนอูในสามก๊กเคยประกอบอาชีพขายน้ำเต้าหู้
ภาคใต้ยังเรียก ชาโกย แผลงมาจาก อิ่วจาก้วย
ใช่ๆ จาโก๊ย
4
13:59 กูนึกว่าน้ำกระท่อม
ภูเก็ตเรียกปาท่องโก๋จาโก้ยครับ
1
ภูเก็ตบ้านผมเรียกปาท่องโก๋ ว่าเจี๊ยะโก๊ย
แถวบ้านผมเพี้ยนมาเป็น จ่ะโกย
3
ทำไมคนชงกาแฟข้างหลังไม่ได้พูดอะไรเลยค่ะ?
Hi you มันพูดอยู่คำ
กาแฟเป็นภาษาโปรตุเกส
กาแฟไม่ใช่ภาษาโปรตุเกส แต่เป็นอาหรับจริงๆอย่างที่อาจารย์เล่า แต่ทีนี้แขกมัวร์เข้ามายึดเมืองโปรตุเกสและสเปนยันถึงอิตาลี่ตอนใต้ จึงทำให้ชาวยุโรปก็เริ่มติดกาแฟ และเรียกตามปากของบ้านเขาว่าคาเฟ่ มีแต่อังกฤษนี่แหละที่ไปเรียกว่า ค็อฟฟี่ ไม่รู้ว่ามันฟังอีท่าไหนนะ ถึงได้เพี้ยนขนาดนี้ ในช่วงยุคออเจ้าก็มีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ ชาวโปรตุเกสน่ะเริ่มมาเปิดร้านกาแฟในอยุธยา คนไทยก็เอามาเรียกให้ถนัดปากว่ากาแฟ ครือเดียวกันกับที่เหมาเรียกชาวยุโรปว่าฝาหรั่งหรือเฟรนซ์หมด ซึ่งเอาเข้าจริง ชาวฝรั่งเศสเรียกตัวเองว่าเป็น ฟร็องซ์ ต่างหาก55555
อาหรับ เมืองม๊อกค่าในเยเมน
วิโรจน์---- โอเลี้ยงยกล้อ ไม่ใช่อย่างที่คุณพูด ----มันเกิดจากกระป๋องนมที่มีรูปเด็กขี่จักรยาน /ตอนยกกระป๋องเทนมลงแก้วโอเลี้ยง// ลักษณะรูปเด็กที่กระป๋องนม เหมือนท่ายกล้อ
กูเกลียด ความถั่วซีก ใส่ถุง555
ตอนเด็กๆชอบไปซื้อกรอกปาก
บ้านผมเรียก ปาท่องโก๋ว่า ก๊วยช๊ก
บ้านเราสงขลาเรียก จาโข๋ย
ก๊วยช๊ก ใช่ สุราษฏร์ มั้ยคะ
ช่ายแล้วคับ สุราดบ้านเรา
ใช่สุราษฎร์เรียกแบบนี้
ออยัวะค่ะไม่ใช่โอ555
โปรตุเกส ก็เรียก กาแฟ
กาแฟเป็นภาษาโปรตุเกสแหละครับ
ใช่ค่ะ
เวียดนามก็เรียก”กาแฟ” เช่นกัน
ปาท่องโก๋ ใต้เรียก จากโกย น่าเพี้ยนมาจาก อิ๋วจากก๋วย
สุราษฎร์ธานี เรียก ปาท่องโก๋ ว่า กล้วยชอค
ไอ้หลุย14
ผิดตั้งแต่นมยกล้อเเล้วอาม่า
มันเป็นยังไงครับ เล่าให้ฟังหน่อย.
กาแฟดำ … ยกล้อค่ะ
่
คนฮ่องกงเรียกเย่าจาไก้า
คนแก่แถวบ้านเรียกปาท่องโก๋ว่า เฉาก๊วย"
เคยอ่านจากที่ไหนสักที่หนึ่งว่าช่วงแรกๆที่กาแฟแพร่เข้ามาในจีนถูกเรียกว่าโจ๊กขมอาหรับ